realist-blog-logo
facebook-logo youtube-logo instagram-logo line-logo tiktok-logo
thelist-logo
 (219)
 (317)
 (381)
 (28)
 (11)
 (4)
 (19)
 (199)
 (54)
 (29)
 (6)
 (5)
 (9)
 (51)
 (9)
 (34)
 (27)
 (9)
 (8)
 (181)
 (85)
 (109)
 (106)
 (41)
 (17)
 (44)
 (24)
 (41)
 (19)
 (18)
 (13)
 (36)
 (13)
youtube-icon instagram-icon line-icon tiktok-icon
realist-blog-logo
 (219)
 (317)
 (381)
 (28)
 (11)
 (4)
 (19)
 (199)
 (54)
 (29)
 (6)
 (5)
 (9)
 (51)
 (9)
 (34)
 (27)
 (9)
 (8)
 (181)
 (85)
 (109)
 (106)
 (41)
 (17)
 (44)
 (24)
 (41)
 (19)
 (18)
 (13)
 (36)
 (13)
youtube-icon instagram-icon line-icon tiktok-icon

เตรียมเวนคืน 350 ไร่! แก้รถติดเข้าเมือง ถ.นครอินทร์-ศาลายา

27 Jan 2021 9.9K

เตรียมเวนคืน 350 ไร่! แก้รถติดเข้าเมือง ถ.นครอินทร์-ศาลายา

27 Jan 2021 9.9K
 

เตรียมเวนคืน 350 ไร่! แก้รถติดเข้าเมือง ถ.นครอินทร์-ศาลายา

พื้นที่ระหว่างถนนกาญจนาภิเษกกับทางหลวงชนบท นฐ.3004 (ถนนสายหลักในแนวเหนือ-ใต้) และ ถนนบรมราชชนนีกับทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง หมายเลข 81 (สายบางใหญ่–กาญจนบุรี) ซึ่งปัจจุบันอยู่ในระหว่างการจัดกรรมสิทธิ์ที่ดินเพื่อการก่อสร้างตามแนวตะวันตก-ตะวันออก เนื่องจากบริเวณนี้เป็นพื้นที่ปิดล้อมขนาดใหญ่ (Super Block) ครอบคลุมพื้นที่กว่า 90 ตร.กม. กรมทางหลวงชนบทจึงริเริ่มโครงการเพิ่มเติมโครงข่ายเส้นทางคมนาคม ถ.นครอินทร์-ศาลายา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพด้านการคมนาคมขนส่ง และพัฒนาพื้นที่สองข้างทางให้มีความเจริญมากขึ้น รวมถึงเพิ่มความสะดวกให้กับประชาชนในพื้นที่

ล็อค 8,722 ล้านบาทพัฒนากรุงเทพตะวันตก

ปัจจุบันอยู่ในช่วงแรก งบประมาณ 29 ลบ. มีการแจกแจงการศึกษาและสำรวจอสังหาริมทรัพย์เป็น 7 ขั้นตอน ได้แก่
  1. งานสำรวจภาพสนาม รวบรวมและทบทวนข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
  2. งานศึกษาด้านวิศวกรรมจราจร
  3. งานศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น
  4. งานออกแบบเบื้องต้นและวิเคราะห์โครงการ
  5. งานศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม
  6. งานสำรวจภาคสนามและรวบรวมข้อมูล
  7. งานสำรวจออกแบบรายละเอียด
 

รูปแบบถนนโครงการ

ถนนทั่วไปของโครงการมีขนาด 6 ช่องจราจร (3 ช่องจราจรสำหรับขาไป และ 3 ช่องจราจรสำหรับขากลับ) ขนาดช่องจราจร 3.25 เมตร  แบ่งทิศทางจราจรด้วยเกาะกลางถนน พร้อมไหล่ทางกว้าง 2.50 เมตร เกาะกลางถนนกว้าง 3.00 เมตร ใช้เขตทาง 40 เมตร ทั้งนี้ ไม่มีการเปิดเกาะกลางถนน และในพื้นที่ชุมชนกำหนดให้มีทางเท้าเพื่ออำานวยความสะดวกให้กับผู้สัญจร สำหรับถนนโครงการช่วงที่เป็นสะพานข้ามถนนเดิม กำหนดเป็นสะพานคู่ขนาด 6 ช่องจราจรเช่นเดิม ซึ่งจะมีถนนกลับรถใต้สะพานระดับดินขนาด 2 ช่องจราจร อีกทั้งถนนด้านข้างสะพานจะเชื่อมต่อกับถนนท้องถิ่นนั้นๆ อีกทิศทางละ 2 ช่องจราจร บนเขตทางรวม 50 เมตร

รูปแบบทางแยกต่างระดับ

ทางแยกต่างระดับศาลายา (จุดเริ่มต้นโครงการ) เชื่อมต่อกับทางหลวงชนบท นฐ.3004 และ นฐ.5035 และเพื่อข้ามคลองนราภิรมย์ และ ทางแยกต่างระดับบางคูเวียง (จุดสิ้นสุดโครงการ) จากถนนกาญจนาภิเษก (รถจากทางแยกต่างระดับฉิมพลี) เข้าถนนนครอินทรยกระดับข้ามทางหลัก ของโครงการที่เชิงลาดสะพานทางหลักเข้าต่อเชื่อมกับสะพานเดิมเพื่อมุ่งหน้าไปถนนนครอินทร์ 

รูปแบบสะพานข้ามถนนท้องถิ่นเดิม

สะพานข้ามถนนท้องถิ่นเดิม มีจำาวน 2 จุด คือ นบ.1001 และ นบ.5035 กำหนดสำหรับถนนโครงการ ช่วงที่เป็นสะพานข้ามถนนเดิม กำหนดเป็นสะพานคู่ขนาด สะพานละ 3 ช่องจราจร ขนาดช่องจราจรละ 3.25 เมตร ไหล่ทางด้านซ้ายกว้าง 2.00 เมตร มีถนนกลับรถใต้สะพานระดับดินช่องลอด 5.50 เมตร ขนาด 1 ช่องจราจร จราจร ละ 3.25 เมตร ไหล่ทางด้านซ้ายกว้าง 2.50 เมตร ถนนด้านข้างสะพานเชื่อมต่อกับถนนท้องถิ่นนั้นๆ อีกทิศทางละ 1 ช่องจราจร บนเขตทาง 50 เมตร ถนนด้านข้างสะพานเชื่อมต่อกับถนนท้องถิ่นอีกทิศทางละ 2 ช่องจราจร โครงสร้างสะพานใช้คานคอนกรีตอัดแรง

รูปแบบสะพานข้ามคลอง

สะพานข้ามคลองประปาต่อเนื่องถึงคลองบางนา เป็นแนวเส้นทางที่เป็นทางโค้งสะพาน ขนาด 6 ช่องจราจร ขนาดช่องจราจรละ 3.25 เมตร ไหล่ทางด้านซ้ายกว้าง 2.00 เมตร มีจุดกลับรถ ช่องลอดใต้สะพาน 2.50 เมตร สำหรับฝั่งตะวันออกและ 5.50 เมตร สำหรับฝั่งตะวันตก บนเขตทาง 40-50 เมตร ถนนด้านข้างสะพานเชื่อมต่อกับถนนท้องถิ่นอีกทิศทางละ 2 ช่องจราจร
แต่ถ้าหากเป็นสะพานข้ามคลองขนาดเล็ก จะถูกจัดให้เป็นสะพานคู่ สะพานละ 3 ช่องจราจร ขนาดช่อง จราจรละ 3.25 เมตร ไหล่ทางด้านซ้ายกว้าง 2.50 เมตร ไม่มีจุดกลับรถ สะพานที่มีความยาวช่วงไม่เกิน 10 เมตร ใช้ระบบเสาและคานแบบแผ่นพื้นตัน (Plank girder) ส่วนสะพานที่มีความยาวช่วงสะพานไม่เกิน 20 เมตร ใช้ระบบเสาและคานกล่อง (Box girder) ทั้งนี้กำหนดให้มีสะพานข้ามคลองขนาดเล็ก จำนวน 7 แห่ง ดังนี้
  1. สะพานข้ามคลอง ตาพริ้ง
  2. สะพานข้ามคลองสามท้าว
  3. สะพานข้ามคลองจีนบ่าย
  4. สะพานข้ามคลองขุนเจน
  5. สะพานข้ามคลองลาดละมุด
  6. สะพานข้ามคลองโสนน้อย
  7. สะพานข้ามคลองหัวคู

สรุปพื้นที่ศึกษาและการดำเนินงานของโครงการ

Content Creator
ให้เราช่วยคุณหาคอนโดที่ใช่
REAL DATA รวบรวมคอนโดฯ ในกรุงเทพ นำเสนอข้อมูลอย่างเป็นระบบครบถ้วน แผนที่ที่ง่ายต่อการค้นหา รวมถึงมีราคาตลาด ยอดขายที่น่าเชื่อถือและบทความวิเคราะห์เชิงลึก ทั้งในเรื่องความน่าอยู่และน่าลงทุน

Condo Database  

Image Shortcut
Image Shortcut
ให้เราช่วยคุณหาคอนโดที่ใช่
REAL DATA รวบรวมคอนโดฯ ในกรุงเทพ นำเสนอข้อมูลอย่างเป็นระบบครบถ้วน แผนที่ที่ง่ายต่อการค้นหา รวมถึงมีราคาตลาด ยอดขายที่น่าเชื่อถือและบทความวิเคราะห์เชิงลึก ทั้งในเรื่องความน่าอยู่และน่าลงทุน

REAL DATA  

 (219)
 (317)
 (381)
 (28)
 (11)
 (4)
 (19)
 (199)
 (54)
 (29)
 (6)
 (5)
 (9)
 (51)
 (9)
 (34)
 (27)
 (9)
 (8)
 (181)
 (85)
 (109)
 (106)
 (41)
 (17)
 (44)
 (24)
 (41)
 (19)
 (18)
 (13)
 (36)
 (13)
youtube-icon instagram-icon line-icon tiktok-icon