realist-blog-logo
facebook-logo youtube-logo instagram-logo line-logo tiktok-logo
thelist-logo
 (222)
 (318)
 (391)
 (29)
 (11)
 (4)
 (19)
 (199)
 (54)
 (29)
 (6)
 (5)
 (9)
 (51)
 (9)
 (34)
 (27)
 (9)
 (9)
 (182)
 (85)
 (110)
 (106)
 (41)
 (17)
 (45)
 (24)
 (41)
 (19)
 (19)
 (13)
 (36)
 (13)
youtube-icon instagram-icon line-icon tiktok-icon
realist-blog-logo
 (222)
 (318)
 (391)
 (29)
 (11)
 (4)
 (19)
 (199)
 (54)
 (29)
 (6)
 (5)
 (9)
 (51)
 (9)
 (34)
 (27)
 (9)
 (9)
 (182)
 (85)
 (110)
 (106)
 (41)
 (17)
 (45)
 (24)
 (41)
 (19)
 (19)
 (13)
 (36)
 (13)
youtube-icon instagram-icon line-icon tiktok-icon

เกร็ดความรู้เกี่ยวกับสีและสัญลักษณ์ของสถานีรถไฟฟ้า MRT

13 Feb 2014 10.5K

เกร็ดความรู้เกี่ยวกับสีและสัญลักษณ์ของสถานีรถไฟฟ้า MRT

13 Feb 2014 10.5K
 

เกร็ดความรู้เกี่ยวกับสีและสัญลักษณ์

สถานีรถไฟฟ้า MRT

สีและสัญลักษณ์ของสถานีแบ่งเป็น 2 ส่วน 1. ส่วนใต้ 9 สถานี ใช้สัญลักษณ์ และ สีประจำสถานี 2. ส่วนเหนือ มี 9 สถานี (ไม่มีสัญลักษณ์ประจำสถานี) ใช้เพียงสีเป็นตัวบ่งบอก ทั้งนี้ เพราะสถานี 2 ส่วนผู้ได้รับสัมปทานจัดสร้างเป็นผู้รับเหมาคนละบริษัท และบริเวณ 9 สถานีที่เหลือไม่มีเอกลักษณ์หรือสถานที่สำคัญใดๆ พอจะนำมาเป็นสัญลักษณ์ได้ สำหรับสีสัญลักษณ์แต่ละสถานี

ส่วนใต้ 9 สถานี

1. หัวลำโพง

สัญลักษณ์คือ รูปทรงของอาคารสถานีรถไฟหัวลำโพง สีแดง บอกถึงความเป็นย่านธุรกิจ/ตลาด

2. สามย่าน

สัญลักษณ์คือ รูปทรงหลังคาอาคารหอประชุมของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สีชมพู

3. สีลม

จุดเชื่อมต่อระหว่างรถไฟฟ้าใต้ดิน และ รถไฟฟ้าลอยฟ้า สัญลักษณ์เป็น รูปพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ที่อยู่ทางด้านหน้าของสวนลุมพินี สีน้ำเงิน

4. ลุมพินี

เป็นสถานีที่เชื่อมต่อออกไปยังสวนลุมพินี สัญลักษณ์รูปดอกบัว สีเขียว หมายถึง สวนสาธารณะ

5. คลองเตย

สัญลักษณ์ หลังคาเรือนไทย แทนค่า “ตำหนักปลายเนิน” บนถนนพระราม 4 สีส้ม บ่งบอกถึงสถานีที่อยู่ในพื้นที่ย่านการค้าหนาแน่น

6. ศูนย์การประชุมฯ

สัญลักษณ์อาคารของศูนย์การประชุมฯ สีเหลือง หมายถึง สถานีที่อยู่ในส่วนที่เกี่ยวกับราชวงศ์

7. สุขุมวิท

เป็นอีกหนึ่งสถานีที่มีจุดเชื่อมต่อกับระบบรถไฟฟ้าลอยฟ้า จึงใช้ สีน้ำเงิน สัญลักษณ์เป็น กาแล สื่อความหมายถึง “เรือนคำเที่ยง” พิพิธภัณฑ์ในสยามสมาคม ถนนสุขุมวิท (อโศก) ซึ่งถือเป็นสถาปัตยกรรมแบบกาแลที่ดีที่สุดในกรุงเทพฯ

8. เพชรบุรี

สัญลักษณ์คือ รูปคลื่นน้ำ หมายถึง คลองแสนแสบ สีฟ้า หมายถึงน้ำ

9. พระราม 9

ใช้สัญลักษณ์เป็นรูปเลข 9 ไทย (๙) เนื่องจากสถานีตั้งอยู่บริเวณสี่แยกพระราม 9 จุดตัดถนนพระราม 9 โดยใช้สีแดงเพื่อบ่งบอกถึงความเป็นย่านธุรกิจ หรือตลาด
 
 
 
   

ส่วนเหนือ 9 สถานี

1. ศูนย์วัฒนธรรมฯ

สีน้ำเงิน เป็นจุดเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้าสายสีส้ม (ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต) หรือตลาด

2. ห้วยขวาง

สีส้ม หมายถึงพื้นที่ที่อยู่ในย่านการค้าหนาแน่น

3. สุทธิสาร

สีแดง ความหมายเดียวกับสถานีหัวลำโพงและสถานีพระราม 9

4. รัชดาภิเษก

สีชมพู

5. ลาดพร้าว

สีฟ้า

6. พหลโยธิน

สีเหลือง ความหมายเดียวกับสถานีศูนย์การประชุมฯ เนื่องจากสถานีอยู่ใน “สวนสมเด็จย่า 84″

7. สวนจตุจักร

สีน้ำเงิน หมายถึงจุดเชื่อมต่อ โดยต่อกับระบบรถไฟฟ้าลอยฟ้า

8. กำแพงเพชร

สีแดง

9. บางซื่อ

สีน้ำเงิน เป็นจุดเชื่อมต่อกับโครงการสายสีน้ำเงินช่วงบางซื่อ-ท่าพระ และสายสีม่วงช่วงบางใหญ่-บางซื่อ และ บางซื่อ-ราษฎร์บูรณะ
    หมายเหตุ :สีที่บอกสัญลักษณ์ของแต่ละสถานีจะปรากฏอยู่ตามเสา ผนัง และขอบด้านบนของแนวประตูกั้นชานชาลา ส่วนสถานี 9 สถานีด้านใต้ที่มีสัญลักษณ์ ใช้วิธีประดับกระเบื้องเป็นสีตามสถานีนั้นๆ โดย สถานีศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ ใช้ สีทอง แทน สีเหลือง Image & Info : คุณ Totomaru (Skyscrapercity.com)
Content Creator
ให้เราช่วยคุณหาคอนโดที่ใช่
REAL DATA รวบรวมคอนโดฯ ในกรุงเทพ นำเสนอข้อมูลอย่างเป็นระบบครบถ้วน แผนที่ที่ง่ายต่อการค้นหา รวมถึงมีราคาตลาด ยอดขายที่น่าเชื่อถือและบทความวิเคราะห์เชิงลึก ทั้งในเรื่องความน่าอยู่และน่าลงทุน

Condo Database  

Image Shortcut
Image Shortcut
ให้เราช่วยคุณหาคอนโดที่ใช่
REAL DATA รวบรวมคอนโดฯ ในกรุงเทพ นำเสนอข้อมูลอย่างเป็นระบบครบถ้วน แผนที่ที่ง่ายต่อการค้นหา รวมถึงมีราคาตลาด ยอดขายที่น่าเชื่อถือและบทความวิเคราะห์เชิงลึก ทั้งในเรื่องความน่าอยู่และน่าลงทุน

REAL DATA  

 (222)
 (318)
 (391)
 (29)
 (11)
 (4)
 (19)
 (199)
 (54)
 (29)
 (6)
 (5)
 (9)
 (51)
 (9)
 (34)
 (27)
 (9)
 (9)
 (182)
 (85)
 (110)
 (106)
 (41)
 (17)
 (45)
 (24)
 (41)
 (19)
 (19)
 (13)
 (36)
 (13)
youtube-icon instagram-icon line-icon tiktok-icon