realist-blog-logo
facebook-logo youtube-logo instagram-logo line-logo tiktok-logo
thelist-logo
 (222)
 (318)
 (389)
 (29)
 (11)
 (4)
 (19)
 (199)
 (54)
 (29)
 (6)
 (5)
 (9)
 (51)
 (9)
 (34)
 (27)
 (9)
 (9)
 (181)
 (85)
 (110)
 (106)
 (41)
 (17)
 (45)
 (24)
 (41)
 (19)
 (18)
 (13)
 (36)
 (13)
youtube-icon instagram-icon line-icon tiktok-icon
realist-blog-logo
 (222)
 (318)
 (389)
 (29)
 (11)
 (4)
 (19)
 (199)
 (54)
 (29)
 (6)
 (5)
 (9)
 (51)
 (9)
 (34)
 (27)
 (9)
 (9)
 (181)
 (85)
 (110)
 (106)
 (41)
 (17)
 (45)
 (24)
 (41)
 (19)
 (18)
 (13)
 (36)
 (13)
youtube-icon instagram-icon line-icon tiktok-icon

โครงการ Monorail พัทยา

11 Aug 2020 6.6K

โครงการ Monorail พัทยา

11 Aug 2020 6.6K
 

เปิดแผนพัฒนา Monorail พัทยา เริ่มดำเนินการ 2565

พัทยา เมืองท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงในระดับโลกของไทย ที่มีศักยภาพด้านการท่องเที่ยวและเศรษฐกิจเป็นอันดับต้นๆ ของประเทศ ในปัจจุบันได้มีการประสบปัญหาเรื่อง "การจราจรที่ติดขัดในพื้นที่" เนื่องจากระบบขนส่งสาธารณะยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ ทำให้เมืองพัทยา ได้ทำการศึกษาความเหมาะสมและออกแบบ ระบบขนส่งสาธารณะ Monorail ภายในตัวเมืองพัทยา อ.บางละมุง จ.ชลบุรี

จากผลการศึกษานั้น ได้มีผลว่า “รถไฟฟ้ารางเดี่ยว” หรือ “Monorail” เป็นระบบขนส่งสาธารณะที่เหมาะสมที่สุด ด้วยเหตุผลที่ว่า “เป็นระบบที่สามารถผสานเข้ากับลักษณะทางกายภาพและโค้งของถนนขนาดเล็กได้ดี (เขตทางน้อยกว่า 20 ม.) และโครงสร้างทางวิ่งกระทบกับผิวจราจรทางบกน้อย” โดยโครงสร้างนั้นจะเป็นแบบโครงสร้างยกระดับ (Elevated)

แนวเส้นทางของระบบขนส่งสาธารณะสายหลักของเมืองพัทยานั้น จะประกอบได้ด้วย 4 เส้นทางหลัก

สายสีเขียว - วิ่งจากสถานีรถไฟพัทยา - ถ.พัทยาสาย 2 - แหลมบาลีฮาย ระยะทางรวม 8.13 กม.

สายสีเหลือง (รถไฟทางคู่) - วิ่งขนานกับ ถ.สุขุมวิท เริ่มจาก สถานีชุมทางรถไฟศรีราชา จนสิ้นสุดที่ สถานีรถไฟท่าเรือสัตหีบ ระยะทางรวม 68.0 กม.

สายสีม่วง - วิ่งเชื่อมต่อ อ.หนองปรือ กับตัวเมืองพัทยา เริ่มจากแยกทัพพระยา วิ่งผ่าน ถ.พัทยาสาย 3 จนเลี้ยวเข้าสู่ ถ.พัทยาใต้ ระยะทางรวม 7.6 กม.

สายสีแดง - วิ่งจาก วงเวียนปลาโลมา บน ถ.พัทยาสาย 2 เรื่อยมาจนถึง ถ.ทัพพระยา ไปจนถึง ถ.จอมเทียนสาย 2 และไปสิ้นสุดที่สนามกีฬาแห่งชาติภาคตะวันออก ระยะทางรวม 10.40 กม.

ด้าน Timeline การพัฒนาของโครงการนี้จะแบ่งเป็น 3 ช่วงใหญ่ๆ ดังนี้ ช่วงที่ 1 (2566-2570) จะเน้นไปที่การพัฒนาระบบ เพื่อรองรับรถไฟฟ้าความเร็วสูง 3 สนามบิน และ EEC พัฒนาระบบขนส่งหลัก สายสีเขียว และ สายสีเหลือง (รถไฟชานเมือง)

ช่วงที่ 2 ปี (2571-2575) เน้นการพัฒนาระบบโครงข่ายให้เชื่อมโยงกับช่วงที่ผ่านมา พัฒนาระบบขนส่งสายสีม่วง

แผนระยะยาว (2576-2580) เน้นพัฒนาโครงข่ายให้ครอบคลุมทุกพื้นที่และรองรับการขยายตัวของเมือง พัฒนาระบบขนส่งสายสีแดง

ทั้งนี้เส้นสายที่ถูกยกมาเป็นโครงการนำร่องได้แก่ สายสีเขียว โดยตลอดเส้นทางจะมีสถานีทั้งหมด 13 สถานี แต่ละห่างกันประมาณ 650-700 ม. . วิ่งจากสถานีรถไฟพัทยา - ถ.พัทยาสาย 2 - แหลมบาลีฮาย

 
รูปแบบโครงสร้างทางวิ่ง มี 2 รูปแบบ ได้แก่ รูปแบบโครงสร้างเสาเดี่ยว (Single pier) และรูปแบบโครงสร้างเสาคู่ (Portal Frame) ซึ่งมีขั้นตอนในการปรับปรุงถนนเดิมก่อน โดยเริ่มต้นปรับปรุงฟังก์ชั่นการใช้งานของถนนเดิมทั้งภาครัฐและเอกชน ต่อด้วยทำการโยกย้ายสาธารณูปโภคเดิมที่มีอยู่อยู่ ออกแบบจุดกลับรถและทางเข้าออกระหว่างซอย และปรับปรุงรูปแบบทางเท้าบริเวณสถานีเชื่อมต่อ โดยคำนึงหลักการ Universal Design มีตัวอย่างมาให้ชมเบื้องต้น

ตัวอย่างทัศนียภาพ

 
Content Creator
ให้เราช่วยคุณหาคอนโดที่ใช่
REAL DATA รวบรวมคอนโดฯ ในกรุงเทพ นำเสนอข้อมูลอย่างเป็นระบบครบถ้วน แผนที่ที่ง่ายต่อการค้นหา รวมถึงมีราคาตลาด ยอดขายที่น่าเชื่อถือและบทความวิเคราะห์เชิงลึก ทั้งในเรื่องความน่าอยู่และน่าลงทุน

Condo Database  

Image Shortcut
Image Shortcut
ให้เราช่วยคุณหาคอนโดที่ใช่
REAL DATA รวบรวมคอนโดฯ ในกรุงเทพ นำเสนอข้อมูลอย่างเป็นระบบครบถ้วน แผนที่ที่ง่ายต่อการค้นหา รวมถึงมีราคาตลาด ยอดขายที่น่าเชื่อถือและบทความวิเคราะห์เชิงลึก ทั้งในเรื่องความน่าอยู่และน่าลงทุน

REAL DATA  

 (222)
 (318)
 (389)
 (29)
 (11)
 (4)
 (19)
 (199)
 (54)
 (29)
 (6)
 (5)
 (9)
 (51)
 (9)
 (34)
 (27)
 (9)
 (9)
 (181)
 (85)
 (110)
 (106)
 (41)
 (17)
 (45)
 (24)
 (41)
 (19)
 (18)
 (13)
 (36)
 (13)
youtube-icon instagram-icon line-icon tiktok-icon